Header

วัยเก๋า……..ต้องไม่เกาต์

นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา

โรคเกาต์ และเกาต์เทียมเป็นโรคที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนแต่จะพบได้บ่อยที่สุดในผู้สูงอายุซึ่งเป็นโรคที่สร้างความเจ็บปวดบริเวณกระดูกและข้อส่งผลให้การเดินและการใช้ชีวิตประจำวันเป็นไปได้อย่างยากลำบากอีกทั้งในผู้สูงอายุบางท่านเมื่อเป็นโรคนี้อาจจะปวดจนเดินไม่ได้อีกด้วยมารู้จักกับโรคเกาต์ให้มากขึ้นเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันไม่ให้โรคที่แสนทรมานกัน

สาเหตุของโรค

โรคเกาต์ (Gout) คือโรคที่เกิดจากการที่กรดยูริกในเลือดมีปริมาณสูงติดต่อกันเป็นระยะเวลานานแล้วตกตะกอนเป็นผลึกตามข้อและเนื้อเยื่อต่าง ๆ กรดยูริกนี้ได้มาจากการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่มีสารอาหารที่ชื่อว่าพิวรีนในปริมาณมากซึ่งสารพิวรีนจะถูกเผาผลาญกลายเป็นกรดยูริกนั่นเองปัจจัยเสี่ยง

โรคเกาต์สามารถพบได้ทุกเพศทุกวัยแต่เนื่องจากโรคเกาต์จะต้องใช้เวลาในการสะสมกรดยูริกนานกว่า 10 ปีถึงจะเริ่มแสดงอาการจึงพบได้มากในผู้ชายอายุประมาณ 40 ปีขึ้นไปและพบได้มากในเพศชายมากกว่าเพศหญิงหากพบในเพศหญิงจะเป็นผู้หญิงในวัยหมดประจำเดือน

 

กรดยูริคคืออะไร

กรตนี้ส่วนใหญ่ร่างกายจะสร้างเองมีเพียงส่วนน้อยไม่ถึงร้อยละ 20 ที่ได้รับจากอาหารค่าที่สูงเกินกว่าระดับตั้งกล่าวถือว่ามีกรดยูริคสูงซึ่งภาวะดังกล่าวสัมพันธ์กับภาวะอ้วน, พันธุกรรมในครอบครัว, ยาในบางชนิดเช่นยาขับปัสสาวะและยาแอสไพรินและโรคร่วมเช่นความดันโลหิตสูง, อาหารที่มีกรดยูริคสูง

 

อาการของโรคเกาต์สามารถแบ่งตามลักษณะอาการออกเป็น 3 ระยะ

1. หากผู้ป่วยมีอาการอักเสบบริเวณข้อส่วนล่างโดยเฉพาะหัวแม่เท้าข้างใดข้างหนึ่งถ้ามีอาการเช่นนี้แสดงว่าผู้ป่วยเข้าสู่ระยะข้ออักเสบเฉียบพลัน

2. หลังจากมีอาการอักเสบบริเวณข้ออย่างเฉียบพลันแล้วผู้ป่วยจะกลับมามีอาการปกติ แต่ถึงอย่างนั้นผู้ป่วยก็จำเป็นจะต้องรับการรักษาไม่เช่นนั้นผู้ป่วยอาจจะกลับมาเป็นซ้ำได้ ซึ่งหากเป็นซ้ำบ่อย ๆ จำนวนข้ออักเสบจะเพิ่มมากขึ้นและทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ อาการดังกล่าวเป็นอาการของระยะที่เรียกว่าระยะไม่มีอาการและระยะเป็น

3. หากผู้ป่วยเกิดข้ออักเสบจำนวนมากแบบเรื้อรังลามมาที่ข้ออื่น ๆ และตรวจพบก้อนจากผลึกของกรดยูริกขนาดโตขึ้นเรื่อย ๆ ใจแตกอให้เห็นเป็นผงชาวนวลคล้ายซอล์กเรียกว่าโทฟัส (tophus) และอาจมีใข้แทรกซ้อนจากอาการอักเสบอาการเช่นนี้คืออาการของระยะข้ออักเสบเรื้อรัง

 

การรักษา

โรคเกาต์สามารถรักษาได้โดยไม่ต้องใช้ยาแต่ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตเช่นการออกกำลังกายการรับประทานอาหารแต่ในผู้ป่วยบางรายที่มีอาการรุนแรงอาจจะมีการใช้ยาที่แพทย์จําหน่ายให้ร่วมด้วย

อาหารที่ทำให้มีกรดยูริคสูง

  • เหล้าและเบียร์
  • เครื่องในสัตว์เช่นตับไตสมอง
  • อาหารทะเล
  • อาหารที่มีไขมันสูงเช่นขนมเค้กขนมปังน้ำหวานหรือน้ำผลไม้ที่มีรสหวาน
     

 
 

โรคเกาต์กินอะไรดี

กินไก่เยอะเป็นโรคเกาต์จริงไหม?

ถ้าพูดถึงโรคเกาต์หลาย ๆ คนคงคิดถึงประโยคยอดฮิตอย่าง“ กินไก่เยอะ ๆ จะทาให้เป็นโรคเกาต์แล้วความเชื่อแบบนี้เป็นเรื่องจริงหรือเปล่า? จริง ๆ แล้วคนปกติทั่วไปที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเกาต์สามารถกินไกได้ตามปกติเลยค่ะไม่ได้ส่งผลให้เป็นโรคเกาต์ แต่จะมีผลกับผู้ที่ป่วยเป็นโรคเกาต์อยู่ก่อนแล้ว แต่อาการยังไม่ปรากฏออกมาหรือผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงโรคเกาต์ถ้าทานเยอะจนเกินไปก็จะส่งผลให้เป็นโรคเกาต์ได้
 

 


สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาได้ที่ Call Center 02-080-5999 หรือ LINE : @psuv

หรือ คลิกที่นี่เพื่อ Add Line ของเรา



ศูนย์การรักษาที่เกี่ยวข้อง

ศูนย์กระดูกและข้อ

สถานที่

อาคาร A ชั้น G

เวลาทำการ

จันทร์ - อาทิตย์ 08.00 - 20.00

เบอร์ติดต่อ

02 080 5999 ต่อ 4110

แพทย์ประจำศูนย์

ศูนย์กระดูกและข้อ

นพ.สุพจน์ กังวาฬ

ออร์โธปิดิกส์

ศูนย์กระดูกและข้อ

นพ.ธวัช ประสาทฤทธา

ศัลยแพทย์กระดูก

ศูนย์กระดูกและข้อ

นพ.รณศักดิ์ มงคลรังสฤษฏ์

ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ

แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

โรคหลอดเลือดสมอง

โรคหลอดเลือดสมอง เป็นอีกหนึ่งภัยเงียบที่เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตและทุพพลภาพ จากสถิติในประเทศไทยในรายงานปี 2562 พบว่า มีผู้เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองกว่า 34,728 คน

โรคหลอดเลือดสมอง

โรคหลอดเลือดสมอง เป็นอีกหนึ่งภัยเงียบที่เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตและทุพพลภาพ จากสถิติในประเทศไทยในรายงานปี 2562 พบว่า มีผู้เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองกว่า 34,728 คน

วัคซีนป้องกันโรคอุจจาระร่วง โรต้าไวรัส

มีหลายสาเหตุอาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเชื้อแบคทีเรียหรือพิษจากอาหารโรตาไวรัสเป็นไวรัสที่ทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วงพบบ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 2ปี

พญ.สุรีย์พร กอบเกื้อชัยพงษ์ โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ พญ.สุรีย์พร กอบเกื้อชัยพงษ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
วัคซีนป้องกันโรคอุจจาระร่วง โรต้าไวรัส

มีหลายสาเหตุอาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเชื้อแบคทีเรียหรือพิษจากอาหารโรตาไวรัสเป็นไวรัสที่ทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วงพบบ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 2ปี

พญ.สุรีย์พร กอบเกื้อชัยพงษ์ โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ พญ.สุรีย์พร กอบเกื้อชัยพงษ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
รู้จักอาการป่วย “หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท” จากกรณีตูน บอดี้สแลม แพทย์ชี้มีโอกาสเกิดขึ้นได้กับทุกคน

โรคหมอนกระดูกทับเส้นประสาทนี้เป็นภาวะความเสื่อมสภาพของโครงสร้างกระดูกสันหลัง ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้กับทุกคน เนื่องจากการทำพฤติกรรมผิด ๆ บางอย่างเป็นประจำ เช่น การก้มคอเล่นมือถือ

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
รู้จักอาการป่วย “หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท” จากกรณีตูน บอดี้สแลม แพทย์ชี้มีโอกาสเกิดขึ้นได้กับทุกคน

โรคหมอนกระดูกทับเส้นประสาทนี้เป็นภาวะความเสื่อมสภาพของโครงสร้างกระดูกสันหลัง ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้กับทุกคน เนื่องจากการทำพฤติกรรมผิด ๆ บางอย่างเป็นประจำ เช่น การก้มคอเล่นมือถือ

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม