Header

วัคซีนพื้นฐานที่ควรได้รับ

วัคซีนพื้นฐาน เป็นวัคซีนที่เด็กไทยทุกคนควรได้รับ เน้นวัคซีนป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ ซึ่งในปัจจุบันประกอบด้วยวัคซีน 8 ชนิด ได้แก่ วัคซีนวัณโรค (BCG) วัคซีนตับอักเสบบี (HB) วัคซีนรวมคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี (DTP-HB) วัคซีนโปลิโอ (OPV) วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน (MMR) วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี (JE) วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTP) และวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก (dT)

อายุ

วัคซีนที่ให้

ข้อแนะนำ

แรกเกิด

วัคซีนป้องกันวัณโรค

ฉีดให้เด็กก่อนออกจากโรงพยาบาล

วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี

HB1 ควรให้เร็วที่สุดภายใน 24 ชั่วโมง หลังคลอด

1 เดือน

วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี

เฉพาะรายที่เด็กคลอดจากมารดาที่เป็นพาหะของไวรัสตับอักเสบบี

2 เดือน

วัคซีนรวม 6 โรค (คอตีบ,บาดทะยัก,ไอกรน,โปลิโอ,เยื่อหุ้มสมองอักเสบฮิบ,ไวรัสตับอักเสบบี)

 

วัคซีนป้องกันท้องร่วงไวรัสโรต้า

 

4 เดือน

วัคซีนรวม 6 โรค (คอตีบ,บาดทะยัก,  ไอกรน,โปลิโอ,เยื่อหุ้มสมองอักเสบฮิบ,ไวรัสตับอักเสบบี)

วัคซีนโปลิโอชนิดฉีด 1 เข็ม พร้อมกับวัคซีนโปลิโอชนิดหยอด 1 ครั้ง

วัคซีนป้องกันท้องร่วงไวรัสโรต้า

 

 

 

6 เดือน

วัคซีนรวม 6 โรค (คอตีบ,บาดทะยัก,   ไอกรน,โปลิโอ,เยื่อหุ้มสมองอักเสบฮิบ,ไวรัสตับอักเสบบี)

 

วัคซีนป้องกันท้องร่วง

 

วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

อายุน้อยกว่า 9 ปี การฉีดครั้งแรกต้องฉีด 2 เข็ม ห่างกัน 1 เดือน

9 เดือน

วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ

 

12 เดือน

วัคซีนป้องกันโรคหัด,หัดเยอรมัน,คางทูม

 

1 ปี 6 เดือน

คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน

 

โปลิโอชนิดหยอด

 

2 ปี 6 เดือน

ไข้สมองอักเสบเจอีเชื้อเป็น

 

หัด-คางทูม-หัดเยอรมัน

 

4 ปี

คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน

 

โปลิโอชนิดหยอด

 

7 ปี (ป.1)

หัด-หัดเยอรมัน

เฉพาะรายที่ได้รับไม่ครบตามเกณฑ์

ตับอักเสบบี

เฉพาะรายที่ได้รับไม่ครบตามเกณฑ์

ไข้สมองอักเสบเจอีเชื้อเป็น

เฉพาะรายที่ได้รับไม่ครบตามเกณฑ์

โปลิโอชนิดฉีด

เฉพาะรายที่ได้รับไม่ครบตามเกณฑ์

คอตีบ-บาดทะยัก, โปลิโอชนิดหยอด

เฉพาะรายที่ได้รับไม่ครบตามเกณฑ์

วัคซีนป้องกันวัณโรค

1. ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิด และไม่มีแผลเป็น

2. ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อเอชไอวี ที่มีอาการของโรคเอดส์

11 ปี

(นักเรียนหญิง ป.5)

เอชพีวี

ให้ 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 6 เดือน

12 ปี (ป.6)

คอตีบ-บาดทะยัก

ตามแผนปฏิบัติงานของกระทรวงสาธารณสุขฉีดให้เด็กนักเรียน

 

 

ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข



แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท (Herniated disc)

โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท คือการเสื่อมสภาพของเส้นสันหลัง ซึ่งอาจเกิดจาก การเสื่อมสภาพ การบาดเจ็บ การขยายตัวของเส้นสันหลัง เเละสภาพพันธุกรรม หรือปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง อาจมีอาการที่หลังเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง มักมีอาการในท่านั่ง หรือมีการนั่งงอตัวไปทางด้านหน้า ซึ่งเป็นท่าที่หมอนรองกระดูกได้รับแรงกดทับมากที่สุด

นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท (Herniated disc)

โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท คือการเสื่อมสภาพของเส้นสันหลัง ซึ่งอาจเกิดจาก การเสื่อมสภาพ การบาดเจ็บ การขยายตัวของเส้นสันหลัง เเละสภาพพันธุกรรม หรือปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง อาจมีอาการที่หลังเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง มักมีอาการในท่านั่ง หรือมีการนั่งงอตัวไปทางด้านหน้า ซึ่งเป็นท่าที่หมอนรองกระดูกได้รับแรงกดทับมากที่สุด

นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โภชนาการที่ดี เป็นหนึ่งในหัวใจของการควบคุมเบาหวาน

โภชนาการที่ดี เป็นหนึ่งในหัวใจของการควบคุมเบาหวาน รับประทานอาหารให้ครบทุกหมู่ ในปริมาณที่เหมาะสม เป็นการป้องกัน หรือลดความรุนแรงของโรค

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โภชนาการที่ดี เป็นหนึ่งในหัวใจของการควบคุมเบาหวาน

โภชนาการที่ดี เป็นหนึ่งในหัวใจของการควบคุมเบาหวาน รับประทานอาหารให้ครบทุกหมู่ ในปริมาณที่เหมาะสม เป็นการป้องกัน หรือลดความรุนแรงของโรค

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ทำอย่างไรเมื่อลืมทานยา ?

การรับประทานยาก่อนอาหารที่ถูกต้อง คือ ทานก่อนรับประทานอาหาร 30 นาที เพื่อประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ที่ดีที่สุด

ทำอย่างไรเมื่อลืมทานยา ?

การรับประทานยาก่อนอาหารที่ถูกต้อง คือ ทานก่อนรับประทานอาหาร 30 นาที เพื่อประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ที่ดีที่สุด