Header

แผนกรังสีวินิจฉัย

แผนกรังสีวินิจฉัย | โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

แผนกรังสีวินิจฉัย ให้คำปรึกษาด้านการตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยาโดยทีมรังสีแพทย์ ตรวจวินิจฉัยทางรังสีด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย ให้บริการรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ เพื่อช่วยให้สามารถค้นหาสาเหตุและความผิดปกติของร่างกายได้อย่างละเอียดและชัดเจน

เทคโนโลยีทางการแพทย์:

  • เครื่องตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Digital MRI 3 Tesla)
  • เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT SCAN)
  • เครื่องอัลตราซาวด์สำหรับการวิเคราะห์หาสาเหตุของโรคแบบปลอดรังสี
  • เครื่องอัลตราซาวด์สำหรับการวิเคราะห์การตั้งครรภ์
  • เครื่องอัลตราซาวด์ 4D



การบริการของเรา

  • เครื่องตรวจความหนาแน่นกระดูก (DXA Scan) ใช้ในการวินิจฉัยโรคกระดูก รวมถึงโรคกระดูกพรุน
  • เครื่องตรวจวินิจฉัยโรคเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ เทคนิคการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายด้วยการฉายลำแสงเอกซ์ เพื่อเก็บรายละเอียดแนวตัดขวางของอวัยวะภายใน กระดูก เนื้อเยื่ออ่อน และหลอดเลือด บางครั้งก็ใช้สารความคมชัดหรือ “สีย้อม” ผ่านทางปาก ฉีดเข้าไปในหลอดเลือดดำ หรือทั้งสองอย่าง
  • การตรวจเต้านมด้วยเครื่องแมมโมกราฟฟี่ (3 มิติ) เพื่อการตรวจเพื่อหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้น ในขณะที่ยังไม่แสดงอาการ ซึ่งทำให้มีโอกาสรักษาหายขาดมากที่สุด
  • เครื่องตรวจเอ็กซเรย์ชนิดที่ใช้ร่วมกับสารทึบรังสี เพื่อฉายภาพถ่ายรังสีเอกซ์อย่างต่อเนื่อง มักใช้ในการตรวจดูความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร หรือตรวจดูภาพถ่ายระหว่างการวินิจฉัย
  • เครื่องตรวจเอ็กซ์เรย์ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) เทคนิคการสร้างภาพทางการแพทย์ที่ใช้สนามแม่เหล็กและคลื่นวิทยุความเข้มสูง เพื่อการตรวจทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของร่างกายทั้งในด้านสุขภาพและโรคต่าง ๆ
  • เวชศาสตร์นิวเคลียร์ เทคนิคการสร้างภาพที่ช่วยให้สามารถมองเห็นเข้าไปภายในร่างกายมนุษย์ วิธีการได้รวมผสมผสานในการใช้คอมพิวเตอร์ เครื่องตรวจวัด และสารกัมมันตรังสี เข้าด้วยกัน เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยวินิจฉัยปัญหาในถุงน้ำดี ไต หรือต่อมไทรอยด์ อีกทั้งยังสามารถช่วยตรวจหาการไหลเวียนของเลือดที่ผิดปกติ หรือไม่เพียงพอที่จะไปหล่อเลี้ยงเนื้อเยื่อต่าง ๆ
  • การถ่ายภาพรังสีระนาบด้วยการปล่อยโพซิตรอน/ฉายแสงเอ็กซเรย์ เพื่อวิเคราะห์ความผิดปกติต่างๆ ของร่างกาย และติดตามความก้าวหน้าของการรักษาทางการแพทย์ นอกจากนี้ยังสามารถใช้เทคนิคนี้ในการช่วยศึกษาและติดตามกระบวนการชีวเคมีที่เฉพาะเจาะจงได้อีกด้วย
  • อัลตราซาวน์ เป็นการตรวจวนิจฉัยโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อสร้างภาพของอวัยวะและโครงสร้างต่าง ๆ ภายในร่างกาย
  • การถ่ายภาพเอกซเรย์ทั่วไป เป็นการถ่ายภาพ 2 มิติในอวัยวะหรือส่วนที่ต้องการศึกษา โดยอาศัยรังสีเอกซเรย์ขนาดอ่อน เพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค

 

 

สถานที่

อาคาร B ชั้น G

เวลาทำการ

24 ชม. ( *อัลตราซาวด์ 09-15.00 )

เบอร์ติดต่อ

02 080 5999 ต่อ 4101

ตารางออกตรวจแพทย์ประจำแผนกรังสีวินิจฉัย

อัปเดตล่าสุดเมื่อ: 05 เมษายน 2567

= ช่วงเช้า = ช่วงบ่าย

รายชื่อแพทย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์
รายชื่อแพทย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์
TANYAWAN CHAOWALIT, MD.

Diagnostic Radiology

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

TANYAWAN CHAOWALIT, MD.

Diagnostic Radiology

จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์
จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

08:00 - 17:00

จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์
จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์
จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

แพทย์แนะนำ

แผนกรังสีวินิจฉัย

แผนกรังสีวินิจฉัย

แผนกรังสีวินิจฉัย

บทความที่เกี่ยวข้อง

การป้องกันไข้หวัดใหญ่ที่ดีที่สุด คือการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

เพราะทุกคนมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้การแนะนำวิธี ในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ โดยแนะนำให้ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ โดยเฉพาะผู้สูงอายุ

การป้องกันไข้หวัดใหญ่ที่ดีที่สุด คือการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

เพราะทุกคนมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้การแนะนำวิธี ในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ โดยแนะนำให้ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ โดยเฉพาะผู้สูงอายุ

ทำความรู้จัก ฝุ่น PM 2.5 และการป้องกันสุขภาพ

PM 2.5 คืออะไร PM (particular matter) คือฝุ่นขนาดเล็กมากไม่เกิน 2.5 ไมครอน  สามารถเข้าไปในถุงลมปอดได้ และเกิดจากการเผาในที่โล่ง การคมนาคมขนส่ง การผลิตไฟฟ้า โรงงานอุตสาหกรรม และที่พักอาศัย

นพ.อธินันท์ ชัญญาวงศ์ศักดิ์ โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ นพ.อธินันท์ ชัญญาวงศ์ศักดิ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ทำความรู้จัก ฝุ่น PM 2.5 และการป้องกันสุขภาพ

PM 2.5 คืออะไร PM (particular matter) คือฝุ่นขนาดเล็กมากไม่เกิน 2.5 ไมครอน  สามารถเข้าไปในถุงลมปอดได้ และเกิดจากการเผาในที่โล่ง การคมนาคมขนส่ง การผลิตไฟฟ้า โรงงานอุตสาหกรรม และที่พักอาศัย

นพ.อธินันท์ ชัญญาวงศ์ศักดิ์ โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ นพ.อธินันท์ ชัญญาวงศ์ศักดิ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
การตรวจสุขภาพตามช่วงอายุ

การตรวจสุขภาพ เป็นการตรวจเพื่อป้องกัน และค้นหาโรคในระยะเริ่มต้นโดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

นพ.อธินันท์ ชัญญาวงศ์ศักดิ์ โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ นพ.อธินันท์ ชัญญาวงศ์ศักดิ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
การตรวจสุขภาพตามช่วงอายุ

การตรวจสุขภาพ เป็นการตรวจเพื่อป้องกัน และค้นหาโรคในระยะเริ่มต้นโดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

นพ.อธินันท์ ชัญญาวงศ์ศักดิ์ โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ นพ.อธินันท์ ชัญญาวงศ์ศักดิ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม