Header

PM 2.5 และการป้องกันสุขภาพ

นพ.อธินันท์ ชัญญาวงศ์ศักดิ์ โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ นพ.อธินันท์ ชัญญาวงศ์ศักดิ์

PM 2.5 คืออะไร
PM (particular matter) คือฝุ่นขนาดเล็กมากไม่เกิน 2.5 ไมครอน  สามารถเข้าไปในถุงลมปอดได้
 

PM 2.5 เกิดจากอะไร
การเผาในที่โล่ง  การคมนาคมขนส่ง  การผลิตไฟฟ้า โรงงานอุตสาหกรรม และที่พักอาศัย
 

กลุ่มเสี่ยงต่อ PM 2.5 มีใครบ้าง
ผู้ที่มีโรคเรื้อรังในระบบทางเดินหายใจ หอบหืด ถุงลมโป่งพอง ผู้ที่มีโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง เด็ก หญิงตั้งครรภ์ และผู้สูงอายุ
 

ผลกระทบทางสุขภาพมีอะไรบ้าง

  • ผลกระทบระยะสั้น : กระตุ้นการเกิดหอบหืด  ไอ แสบจมูก
  • ผลกระทบระยะยาว : เส้นเลือดในสมองตีบ  มะเร็งปอด  โรคระบบทางเดินหายใจ  โรคเส้นเลือดหัวใจ
     

หน้ากากมาตรฐานชนิดใดสามารถป้องกัน PM 2.5 ได้
หน้ากากมาตรฐาน N 95 ป้องกันฝุ่นขนาด 0.3 ไมครอนได้อย่างน้อย 95 %  ดังนั้นจึงป้องกัน  PM 2.5 ได้  ส่วนหน้ากากอนามัยทั่วไปป้องกันฝุ่นขนาด 3 ไมครอน  ดังนั้น PM 2.5 เล็กกว่า 3 ไมครอน หน้ากากอนามัย จึงป้องกัน PM 2.5 ไม่ได้
 

วิธีการลดการสัมผัส PM 2.5 ทำได้อย่างไรบ้าง

  • ลดจากแหล่งกำเนิด : หยุดการเผา  รถไม่มีเขม่า  ควบคุมแหล่งกำเนิด  เน้นการใช้การขนส่งมวลชนมากขึ้น
  • ลดจากทางผ่าน : เลี่ยงการอยู่กลางแจ้ง   ทำความสะอาดที่อยู่ และใช้เครื่องฟอกอากาศ
  • ลดจากคน : เลี่ยงกิจกรรมเสี่ยง เช่น ออกกำลังกาย  และให้ใช้หน้ากาก

 

สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาได้ที่ Call Center 02-080-5999 หรือ LINE : @psuv
เรายินดีให้บริการคุณตลอด 24 ชั่วโมง
เบอร์โทรศัพท์ (+66)02 0805999

หรือ คลิกที่นี่เพื่อ Add Line ของเรา

 

 

 

ศูนย์การแพทย์ที่เกี่ยวข้อง

แผนกตรวจสุขภาพ

สถานที่

อาคาร A ชั้น 2

เวลาทำการ

อังคาร - เสาร์ 08.30-16.00

เบอร์ติดต่อ

02 080 5999 ต่อ 4501

แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

5 วิธีดูแลสมองให้แข็งแรง

สมองเป็นอวัยวะในร่างกายที่สำคัญอย่างมาก เปรียบเหมือนกองบัญชาการควบคุมระบบต่าง ๆ ในร่างกายมากมายหลายระบบ

blank บทความโดย : โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
5 วิธีดูแลสมองให้แข็งแรง

สมองเป็นอวัยวะในร่างกายที่สำคัญอย่างมาก เปรียบเหมือนกองบัญชาการควบคุมระบบต่าง ๆ ในร่างกายมากมายหลายระบบ

blank บทความโดย : โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
เตรียมตัวให้พร้อม ก่อน-หลัง เข้ารับการฉีดวัคซีน Covid-19

เตรียมตัวให้พร้อม ก่อน-หลัง เข้ารับการฉีดวัคซีน Covid-19

blank กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
เตรียมตัวให้พร้อม ก่อน-หลัง เข้ารับการฉีดวัคซีน Covid-19

เตรียมตัวให้พร้อม ก่อน-หลัง เข้ารับการฉีดวัคซีน Covid-19

blank กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง

โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง หลายคนอาจไม่คุ้นหูหรือไม่เคยได้ยิน ซึ่งโรคนี้มีความรุนแรง และการดำเนินของโรคที่รวดเร็ว อาจนำไปสู่ภาวะทุพพลภาพและเสียชีวิตได้

นพ.วุทธิกรณ์ พันธุ์ประสิทธิ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง

โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง หลายคนอาจไม่คุ้นหูหรือไม่เคยได้ยิน ซึ่งโรคนี้มีความรุนแรง และการดำเนินของโรคที่รวดเร็ว อาจนำไปสู่ภาวะทุพพลภาพและเสียชีวิตได้

นพ.วุทธิกรณ์ พันธุ์ประสิทธิ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม