Header

ลิ้นหัวใจตีบ | อาการ วิธีรักษา และตัวเลือกที่ไม่ต้องผ่าตัด

ลิ้นหัวใจตีบ | อาการ วิธีรักษา และตัวเลือกที่ไม่ต้องผ่าตัด

ลิ้นหัวใจตีบ

อาการที่ไม่ควรมองข้าม

เคยรู้สึกเหนื่อยง่าย ใจสั่น หรือบวมตามร่างกายไหม?

อาการเหล่านี้อาจเป็นสัญญาณของ ลิ้นหัวใจรั่ว

 

อาการที่พบบ่อย

  • เหนื่อยง่าย  แม้ทำกิจกรรมที่เคยทำได้สบาย

  • ใจสั่น  รู้สึกหัวใจเต้นผิดจังหวะ

  • บวม  บวมที่ขา หน้าท้อง หรือตับโต

  • หากมีอาการเหล่านี้ ควรปรึกษาแพทย์ทันทีเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจร้ายแรงขึ้น

 

วิธีการรักษาลิ้นหัวใจตีบ

เมื่อทราบว่าลิ้นหัวใจมีปัญหา การรักษาขึ้นอยู่กับความรุนแรง

  1. การใช้ยา สำหรับอาการไม่รุนแรง เช่น ลดความดันหรือป้องกันลิ่มเลือด

  2. การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ  ทางเลือกที่ได้ผลในกรณีที่ลิ้นหัวใจเสียหายหนัก

  3. TAVI (Transcatheter Aortic Valve Implantation)  การเปลี่ยนลิ้นหัวใจแบบไม่ต้องเปิดหน้าอก


ข้อดีของ TAVI การเปลี่ยนลิ้นหัวใจแบบไม่ต้องเปิดหน้าอก

  • แผลเล็ก ฟื้นตัวไว

  • เหมาะสำหรับผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีความเสี่ยงในการผ่าตัดใหญ่

 

ผู้ป่วยปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับอาการลิ้นหัวใจ

 

ลิ้นหัวใจตีบกับการปรึกษาแพทย์

  • การปรึกษาแพทย์เฉพาะทางช่วยวางแผนรักษาอย่างเหมาะสม

  • ผลตรวจหัวใจ เช่น Echocardiogram


 

การเปลี่ยนลิ้นหัวใจ  ทางเลือกที่มั่นใจ

การรักษาลิ้นหัวใจตีบไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด

แพทย์มีเทคโนโลยี ที่ช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มคุณภาพชีวิต

 

เลือกที่เหมาะกับคุณและเริ่มดูแลตัวเองตั้งแต่วันนี้

เพราะ สุขภาพหัวใจที่ดี เริ่มต้นได้ที่ตัวเราเอง

#หัวใจคุณให้พริ้นซ์ช่วยดูเเล
 

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์หัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

"หากมีคำถาม หรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษา กรุณาปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญ เพื่อรับคำแนะนำที่ถูกต้อง"

คลิก เพื่อขอคำปรึกษา



ศูนย์การรักษาที่เกี่ยวข้อง

ศูนย์หัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ พร้อมบริการรักษาโดยทีมแพทย์เฉพาะทาง 24 ชั่วโมง

ศูนย์หัวใจและหลอดเลือด

สถานที่

อาคาร A ชั้น 2

เวลาทำการ

จันทร์ - อาทิตย์ 08.00 -15.00

เบอร์ติดต่อ

02 080 5999 ต่อ 4601 หรือ 092 131 6465

แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

อยู่ดีๆ ก็ใจสั่น อาการเสี่ยงของหัวใจเต้นผิดจังหวะ

คือความรู้สึกเหมือนหัวใจเต้นผิดจังหวะ เต้นช้าหรือเร็วเกินไป เมื่อมีอาการจะเกิดขึ้นไม่นานหัวใจก็จะกลับมาเต้นเป็นปกติเหมือนเดิม และไม่อันตราย แต่หากเกิดขึ้นบ่อยครั้ง นั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนของบางโรคได้ โดยเฉพาะภาวะแทรกซ้อนของอาการใจสั่น ที่เกิดจากความผิดปกติของหัวใจ

นพ. ชูศักดิ์ หล่อจิตต์เสียง | ศูนย์หัวใจและหลอดเลือด นพ. ชูศักดิ์ หล่อจิตต์เสียง

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
อยู่ดีๆ ก็ใจสั่น อาการเสี่ยงของหัวใจเต้นผิดจังหวะ

คือความรู้สึกเหมือนหัวใจเต้นผิดจังหวะ เต้นช้าหรือเร็วเกินไป เมื่อมีอาการจะเกิดขึ้นไม่นานหัวใจก็จะกลับมาเต้นเป็นปกติเหมือนเดิม และไม่อันตราย แต่หากเกิดขึ้นบ่อยครั้ง นั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนของบางโรคได้ โดยเฉพาะภาวะแทรกซ้อนของอาการใจสั่น ที่เกิดจากความผิดปกติของหัวใจ

นพ. ชูศักดิ์ หล่อจิตต์เสียง | ศูนย์หัวใจและหลอดเลือด นพ. ชูศักดิ์ หล่อจิตต์เสียง

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
การตรวจสวนหัวใจและขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน หรือใส่ขดลวดค้ำยัน PERCUTANEOUS CORONARY INTERVENTION

การตรวจสวนหัวใจ เป็นการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรค และรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ รวมทั้งสามารถแสดงให้เห็นการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจวัดความดันภายในส่วนต่าง ๆ ของหัวใจได้

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
การตรวจสวนหัวใจและขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน หรือใส่ขดลวดค้ำยัน PERCUTANEOUS CORONARY INTERVENTION

การตรวจสวนหัวใจ เป็นการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรค และรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ รวมทั้งสามารถแสดงให้เห็นการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจวัดความดันภายในส่วนต่าง ๆ ของหัวใจได้

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ความหมายของค่าความดันโลหิต

ค่าความดันโลหิตบ่งบอกถึงสุขภาพหัวใจและหลอดเลือดของคุณ การรู้วิธีอ่านค่าความดันซีสโตลิกและไดแอสโตลิกจะช่วยให้คุณรักษาสุขภาพได้ดีขึ้น

นพ.อดิศร มนูสาร โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ นพ.อดิศร มนูสาร

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ความหมายของค่าความดันโลหิต

ค่าความดันโลหิตบ่งบอกถึงสุขภาพหัวใจและหลอดเลือดของคุณ การรู้วิธีอ่านค่าความดันซีสโตลิกและไดแอสโตลิกจะช่วยให้คุณรักษาสุขภาพได้ดีขึ้น

นพ.อดิศร มนูสาร โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ นพ.อดิศร มนูสาร

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม