Header

กระดูกสันหลังเสื่อมกดทับเส้นประสาท เกิดจากอะไร

07 มีนาคม 2567

นพ.ปิลันธน์ ใจปัญญา โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ ผศ.นพ.ปิลันธน์ ใจปัญญา

กระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาท เกิดจากอะไร | โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

กระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาท

ภาวะกระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาท เกิดจากการที่กระดูกสันหลังไปกดทับเส้นประสาทสันหลัง ซึ่งเกิดขึ้นได้ทุกที่ตั้งแต่คอหรือกระดูกสันหลังส่วนคอ ไปจนถึงหลังส่วนล่างหรือกระดูกสันหลังส่วนเอว


สาเหตุที่ทำให้เกิดการกดทับ

สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือการสึกหรอของกระดูกสันหลัง หรือที่เรียกว่าโรคกระดูกสันหลังเสื่อม มักจะพบในผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป และจากภาวะอื่นๆ เช่น กระดูกสันหลังคด อาการบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง เนื้องอกกระดูกสันหลัง โรคกระดูกบางชนิด โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ และการติดเชื้อ
 

กระดูกสันหลังระดับเอวเสื่อมกดทับเส้นประสาทเกิดจากอะไร

กระดูกสันหลังระดับเอวเสื่อมกดทับเส้นประสาทมักเป็นไปตามวัย ทำให้โพรงประสาทสันหลัง และกระดูกไปเบียดหรือกดทับเส้นประสาท จนทำให้เกิดอาการปวด และชาบริเวณที่ถูกกดทับอยู่ ซึ่งเกิดจากปัจจัยดังนี้

  • กระดูกสันหลังเสื่อม โต และงอกขึ้นมา
  • หมอนรองกระดูกอ่อนแอ ลักษณะเตี้ยลง และยื่นนูนออกมา 
  • เกิดพังผืดในช่องไขสันหลัง

 

กระดูกสันหลังระดับเอวเสื่อมกดทับเส้นประสาท โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ที่มา: barrowneuro.org

อาการกระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาท

  • ปวดร้าวลงขา โดยเฉพาะที่น่อง
  • ชา เหน็บชา
  • รู้สึกอ่อนแรง
     

การรักษาอาการกระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาท

  • ปรับพฤติกรรม หลีกเลี่ยงการก้ม หลีกเลี่ยงการยกของหนัก หากยกของหนักผิดท่า จะทำให้กระดูกสันหลังเคลื่อนและไปกดเส้นประสาทได้
  • กินยาแก้ปวดประคับประคองอาการ
  • ใส่ซัพพอร์ตหลัง เพื่อประคองและเพิ่มความแข็งแรงของหลัง แต่ไม่ควรใส่นานเพราะจะทำให้กล้ามเนื้อหลังไม่ได้ใช้งาน
  • กายภาพบำบัด ออกกำลังกายเพิ่มกล้ามเนื้อหลัง หรือใช้อุปกรณเครื่องมือในทางกายภาพ เช่น เครื่องเลเซอร์ อัลตร้าซาวน์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 
  • การผ่าตัด ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับการรักษา


ศูนย์การรักษาที่เกี่ยวข้อง

ศูนย์กระดูกและข้อ

สถานที่

อาคาร A ชั้น G

เวลาทำการ

จันทร์ - อาทิตย์ 08.00 - 20.00

เบอร์ติดต่อ

02 080 5999 ต่อ 4110

แพทย์ประจำศูนย์

ศูนย์กระดูกและข้อ

นพ.ธิติพล วนิชชานนท์

ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ

ศูนย์กระดูกและข้อ

นพ.ศุภมงคล มัชมี

ศัลยแพทย์กระดูก,หัวไหล่และข้อเข่า

ศูนย์กระดูกและข้อ

ผศ.นพ.สรวุฒิ ธรรมยงศ์กิจ

ศัลยแพทย์กระดูก

แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

07 กุมภาพันธ์ 2567

กระดูกพรุนคืออะไร ทำไมผู้สูงอายุควรระวัง

โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) คือโรคที่โครงสร้างความแข็งแรงของกระดูกลดลง ทำให้เกิดการหักได้ง่าย หากผู้สูงอายุเกิดอุบัติเหตุด้วยการล้ม จะส่งผลทำให้กระดูกหักได้

นพ.รณศักดิ์ มงคลรังสฤษฏ์ โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุววรณภูมิ นพ.รณศักดิ์ มงคลรังสฤษฏ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

07 กุมภาพันธ์ 2567

กระดูกพรุนคืออะไร ทำไมผู้สูงอายุควรระวัง

โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) คือโรคที่โครงสร้างความแข็งแรงของกระดูกลดลง ทำให้เกิดการหักได้ง่าย หากผู้สูงอายุเกิดอุบัติเหตุด้วยการล้ม จะส่งผลทำให้กระดูกหักได้

นพ.รณศักดิ์ มงคลรังสฤษฏ์ โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุววรณภูมิ นพ.รณศักดิ์ มงคลรังสฤษฏ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ปวดหลังร้าวลงขา สัญญาณหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท

หลาย ๆ คนอาจจะเคยหรือกำลังประสบกับปัญหาการปวดหลัง ซึ่งฟังดูแล้วน่าจะเป็นปัญหาทางสุขภาพทั่วไปที่ไม่ได้รุนแรงอะไร สามารถรักษาได้ง่าย ๆ ด้วยการออกกำลัง ยืดเส้นยืนสาย หรือทานยาเพื่อระงับอาการปวด

ปวดหลังร้าวลงขา สัญญาณหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท

หลาย ๆ คนอาจจะเคยหรือกำลังประสบกับปัญหาการปวดหลัง ซึ่งฟังดูแล้วน่าจะเป็นปัญหาทางสุขภาพทั่วไปที่ไม่ได้รุนแรงอะไร สามารถรักษาได้ง่าย ๆ ด้วยการออกกำลัง ยืดเส้นยืนสาย หรือทานยาเพื่อระงับอาการปวด

โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท (Herniated disc)

โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท คือการเสื่อมสภาพของเส้นสันหลัง ซึ่งอาจเกิดจาก การเสื่อมสภาพ การบาดเจ็บ การขยายตัวของเส้นสันหลัง เเละสภาพพันธุกรรม หรือปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง อาจมีอาการที่หลังเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง มักมีอาการในท่านั่ง หรือมีการนั่งงอตัวไปทางด้านหน้า ซึ่งเป็นท่าที่หมอนรองกระดูกได้รับแรงกดทับมากที่สุด

นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท (Herniated disc)

โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท คือการเสื่อมสภาพของเส้นสันหลัง ซึ่งอาจเกิดจาก การเสื่อมสภาพ การบาดเจ็บ การขยายตัวของเส้นสันหลัง เเละสภาพพันธุกรรม หรือปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง อาจมีอาการที่หลังเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง มักมีอาการในท่านั่ง หรือมีการนั่งงอตัวไปทางด้านหน้า ซึ่งเป็นท่าที่หมอนรองกระดูกได้รับแรงกดทับมากที่สุด

นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม