Header

วัคซีนสำหรับผู้ใหญ่ในแต่ละช่วงอายุ

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

วัคซีนสำหรับผู้ใหญ่ในแต่ละช่วงอายุ | โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

การฉีดวัคซีน คือ การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย เพื่อป้องกันการติดต่อของโรคติดต่อร้ายแรง วัคซีนอาจผลิตจากเชื้อไวรัส หรือ เชื้อแบคทีเรียที่อ่อนตัวแล้ว หรือส่วนประกอบของเชื้อ แล้วนำมาฉีดเพื่อให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคนั้น ๆ โดยสามารถแบ่งตามช่วงอายุได้ดังนี้

อายุ19-26ปี

วัคซีนแนะนำ

วัคซีนที่พิจรณาฉีด

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ 1 เข็ม ทุก 1 ปี

วัคซีนบาดทะยัก-คอตีบ-ไอกรน ชนิดไร้เซลล์ให้วัคซีน Tdap แทน Td 1 ครั้ง เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่อโรคเพียงพอเพื่อลดอุบัติการณ์ของโรคไอกรนในผู้ใหญ่ และส่งผลในการลดการแพร่เชื้อจากผู้ใหญ่สู่เด็กเล็ก ซึ่งเด็กเล็กมีอัตราป่วยตายสูงเมื่อป่วยเป็นโรค

วัคซีนไวรัสตับอักเสบบี 3 เข็ม เดือนที่ 0, 1 และ 6  (ตรวจภูมิคุ้มกันก่อนฉีด)

วัคซีนบาดทะยัก-คอตีบ กระตุ้น 1 เข็มด้วย โd ทุก 10 ปี (เช่น อายุ 20, 30, 40…ปี)

วัคซีนอีสุกอีใส 2 เข็ม ห่างกัน 4 สัปดาห์ (ตรวจภูมิคุ้มกันก่อนฉีด)

วัคซีนเอชพีวี (พิจารณาฉีดสำหรับผู้ชาย) 3 เข็ม เดือนที่ 0, 1 และ 6 หรือ 0, 2 และ 6

วัคซีนหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 4 สัปดาห์

วัคซีนไข้เลือดออก 3 เข็ม เดือนที่ 0, 6 และ 12

วัคซีนเอชพีวี [แนะนำสำหรับผู้หญิง] 3 เข็ม เดือนที่ 0, 1 และ 6 หรือ 0, 2 และ 6

วัคซีนไวรัสตับอักเสบเอ 2 เข็ม ห่างกัน 6-12 เดือน

 


ผู้ที่มีโรคประจำตัว โรคหัวใจ เบาหวาน ปอด (COPD) ไต

วัคซีนแนะนำ

วัคซีนที่พิจรณาฉีด

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ 1 เข็ม ทุกปี

วัคซีนบาดทะยัก-คอตีบ-ไอกรน ชนิดไร้เซลล์ให้วัคซีน Tdap แiทน Td 1 ครั้ง เป็นการกระตุ้นให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่อโรคเพียงพอเพื่อลดอุบัติการณ์ของโรคไอกรนในผู้ใหญ่ และส่งผลในการลดการแพร่เชื้อจากผู้ใหญ่สู่เด็กเล็ก ซึ่งเด็กเล็กมีอัตราป่วยตายสูงเมื่อป่วยเป็นโรค

วัคซีนไวรัสตับอักเสบบี 3 เข็ม เดือนที่ 0, 1 และ 6

(ตรวจภูมิคุ้มกันก่อนฉีด)

วัคซีนบาดทะยัก-คอวัคซีนนิวโมคอคคัส

ชนิดคอนจูเกต

(PCV-13 vaccine)

1 เข็ม

ตีบ กระตุ้น 1 เข็มด้วย Td ทุก 10 ปี (เช่น อายุ 20, 30, 40…ปี)

วัคซีนนิวโมคอคคัส ชนิดโพลีแซคคาไรด์

(PPV-23 vaccine) 1 เข็ม

(กรณีผู้ที่อายุมากกว่า 65 ปี ที่เคยได้รับ PPV-23 เข็มแรกก่อนอายุ 65 ปี ให้กระตุ้นอีก 1 เข็ม

หลังจากฉีดเข็มแรก 5 ปี)

 

อายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป

วัคซีนแนะนำ

วัคซีนที่พิจรณาฉีด

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ 1 เข็ม ทุกปี

วัคซีนบาดทะยัก-คอตีบ-ไอกรน ชนิดไร้เซลล์ เป็นการกระตุ้นให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่อโรคเพียงพอ เพื่อลดอุบัติการณ์ของให้วัคซีน Tdap แทน Td 1 ครั้งโรคไอกรนในผู้ใหญ่ และส่งผลในการลดการแพร่เชื้อจากผู้ใหญ่สู่เด็กเล็ก ซึ่งเด็กเล็กมีอัตราป่วยตายสูงเมื่อป่วยเป็นโรค

วัคซีนไวรัสตับอักเสบบี 3 เข็ม เดือนที่ 0, 1 และ 6

(ตรวจภูมิคุ้มกันก่อนฉีด)

วัคซีนบาดทะยัก-คอตีบ กระตุ้น 1 เข็มด้วย Td ทุก 10 ปี (เช่น อายุ 20, 30, 40…ปี)

วัคซีนอีสุกอีใส 2 เข็ม ห่างกัน 4 สัปดาห์ (ตรวจภูมิคุ้มกันก่อนฉีด)

วัคซีนไวรัสตับอักเสบเอ

2 เข็ม ห่างกัน 6-12 เดือน (ตรวจภูมิคุ้มกันก่อนฉีด)

วัคซีนนิวโมคอคศัส ชนิดโพลีแซคคาไรด์

(PPV-23 vaccine) 1 เข็ม

วัคซีนนิวโมคอคศัส ชนิดคอนจูเกต

(PCV-13 vaccine) 1 เข็ม

วัคซีนงูสวัด 1 เข็ม

 



ศูนย์การแพทย์ที่เกี่ยวข้อง

แผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

แผนกอายุรกรรม

สถานที่

อาคาร A ชั้น G

เวลาทำการ

จันทร์ - อาทิตย์ 08.00 -20.00

เบอร์ติดต่อ

02 080 5999 ต่อ 4011

แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

ทำอย่างไรเมื่อลืมทานยา ?

การรับประทานยาก่อนอาหารที่ถูกต้อง คือ ทานก่อนรับประทานอาหาร 30 นาที เพื่อประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ที่ดีที่สุด

ทำอย่างไรเมื่อลืมทานยา ?

การรับประทานยาก่อนอาหารที่ถูกต้อง คือ ทานก่อนรับประทานอาหาร 30 นาที เพื่อประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ที่ดีที่สุด

แบบทดสอบการนอนและตรวจการนอนหลับ (Sleep Test)

การตรวจการนอนหลับ คือ การตรวจเพื่อสังเกตและวัดการทำงานของระบบต่าง ๆ ของร่างกายขณะนอนหลับ เช่น ระบบการหายใจ การทำงานของคลื่นไฟฟ้าสมอง คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ระดับออกซิเจนในเลือด และกล้ามเนื้อ

แบบทดสอบการนอนและตรวจการนอนหลับ (Sleep Test)

การตรวจการนอนหลับ คือ การตรวจเพื่อสังเกตและวัดการทำงานของระบบต่าง ๆ ของร่างกายขณะนอนหลับ เช่น ระบบการหายใจ การทำงานของคลื่นไฟฟ้าสมอง คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ระดับออกซิเจนในเลือด และกล้ามเนื้อ

ปวดหัวไมเกรน

หลายคนคงต้องประสบกับอาการปวดศีรษะที่เรียกว่า “ไมเกรน” ซึ่งเจ้าไมเกรนนี้ ถือเป็นอีก หนึ่งโรคที่เป็นอันตรายมากกว่าที่คิด

ปวดหัวไมเกรน

หลายคนคงต้องประสบกับอาการปวดศีรษะที่เรียกว่า “ไมเกรน” ซึ่งเจ้าไมเกรนนี้ ถือเป็นอีก หนึ่งโรคที่เป็นอันตรายมากกว่าที่คิด