Header

พัฒนาการของลูกช้า เราช่วยได้

พญ.พริม สุธรรมรติ โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ พญ.พริม สุธรรมรติ

ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดพัฒนาการล่าช้าในเด็ก

    ปัจจัยที่ทำให้เด็กมีพัฒนาการล่าช้าเกิดจากหลายปัจจัย อาทิเช่น

- ด้านชีวภาพ พันธุกรรม หู ตา สมองของลูก เป็นต้น

- ด้านสภาพแวดล้อม การติดเชื้อ โรคภัยไข้เจ็บ การชัก ขาดสารอาหาร โลหิตจาง

  รวมถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ หรือคลอด

- การเลี้ยงดูปัจจัยทางสังคม สื่อ การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และอื่น ๆ อีกมากมาย

 

สัญญาณที่บ่งบอกว่าเด็ก ๆ มีพัฒนาการล่าช้า

     ลูกอาจจะมีพัฒนาการล่าช้าด้านใดด้านหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่งด้านก็ได้ ในด้านหลักของพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ

1. พัฒนาการด้านทักษะทางสังคม และปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น

2. พัฒนาการด้านการพูดการสื่อสาร ความเข้าใจภาษา

3. พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก การปรับตัว การแก้ปัญหา ช่วยเหลือตัวเอง

4. พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่

ซึ่งพัฒนาการในแต่ละด้านจะเชื่อมโยงสัมพันธ์กันการเจริญเติบโตของลูก หากเกิดความผิดปกติ หรือมีข้อสงสัยผู้ปกครองสามารถนัดหมายล่วงหน้าเพื่อพบแพทย์ หาข้อวินิจฉัยที่ถูกต้อง และวางแผนการส่งเสริมพัฒนาการได้

 

แนวทางที่ช่วยส่งเสริม และกระตุ้นพัฒนาการของเด็ก

    ปัญหาพัฒนาการล่าช้าในเด็กสามารถแก้ไขได้ด้วยวิธีการบำบัดและการกระตุ้นพัฒนาการรูปแบบต่าง ๆ เช่น การบำบัดด้านการพูด(อรรถบำบัด) กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด การปรับแนวทาง

การเลี้ยงดู รวมทั้งการฝึกทักษะทางสังคม แต่โอกาสที่จะหายแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย

 

บทความโดย

พญ.พริม สุธรรมรติ (แพทย์เฉพาะทางด้านสาขากุมารแพทย์พัฒนาการ และพฤติกรรม)

แผนกเด็ก 24 ชั่วโมง โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

หากคุณต้องการนัดหมายแพทย์ เพื่อทำการปรึกษา

สามารถติดต่อสอบถามเราได้

Call Center 02-080-5999 หรือ LINE : @psuv

หรือ คลิกที่นี่เพื่อ Add Line ของเรา

 



ศูนย์การรักษาที่เกี่ยวข้อง

แผนกเด็ก 24 ชั่วโมง โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

แผนกเด็ก 24 ชั่วโมง

สถานที่

อาคาร A ชั้น 2

เวลาทำการ

จันทร์ - อาทิตย์ 08.00 -20.00

เบอร์ติดต่อ

02 080 5999 ต่อ 4401

แพทย์ประจำศูนย์

แผนกเด็ก 24 ชั่วโมง

แผนกเด็ก 24 ชั่วโมง

แผนกเด็ก 24 ชั่วโมง

แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

โรคมือ เท้า ปาก

โรคมือ เท้า ปาก ส่วนใหญ่พบได้บ่อยในด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี แต่สามารถพบได้ในเด็กโต

โรคมือ เท้า ปาก

โรคมือ เท้า ปาก ส่วนใหญ่พบได้บ่อยในด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี แต่สามารถพบได้ในเด็กโต

วัคซีนที่จำเป็นต่อลูกน้อย

วัคซีนสำหรับลูกน้อย คืออะไรเเม่ไม่เข้าใจ พ่อ แม่ต้องรู้ !!! ตารางฉีดวัคซีนแรกเกิด – 12 ขวบ

นพ.บุญชู อิศราดิสัยกุล โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ นพ.บุญชู อิศราดิสัยกุล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
วัคซีนที่จำเป็นต่อลูกน้อย

วัคซีนสำหรับลูกน้อย คืออะไรเเม่ไม่เข้าใจ พ่อ แม่ต้องรู้ !!! ตารางฉีดวัคซีนแรกเกิด – 12 ขวบ

นพ.บุญชู อิศราดิสัยกุล โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ นพ.บุญชู อิศราดิสัยกุล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ทำไงดี ลูกชอบดูดนิ้ว ชอบอมมือ ถ้าโตไปฟันจะเสีย หรือเปล่า

ทำไมลูกถึงชอบดูดนิ้ว ต้องบอกเลยว่าการดูดนิ้วสำหรับในวัยเด็กถือเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้น แต่ถ้าหากเด็กติดดูดนิ้วไปจนอายุเกินกว่า 4 ปี อาจส่งผลให้ฟันยื่น เหยิน และการสบฟันที่ผิดปกติได้

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ทำไงดี ลูกชอบดูดนิ้ว ชอบอมมือ ถ้าโตไปฟันจะเสีย หรือเปล่า

ทำไมลูกถึงชอบดูดนิ้ว ต้องบอกเลยว่าการดูดนิ้วสำหรับในวัยเด็กถือเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้น แต่ถ้าหากเด็กติดดูดนิ้วไปจนอายุเกินกว่า 4 ปี อาจส่งผลให้ฟันยื่น เหยิน และการสบฟันที่ผิดปกติได้

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม