Header

เลี่ยงได้เลี่ยง อาหารที่ไม่ควรกินคู่กัน !!

blank บทความโดย : โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ในอาหารหนึ่งมื้อหลาย ๆ คนคงกินอาหารหลาย ๆ อย่างพร้อมกัน แต่รู้หรือไม่ ! อาหารบางอย่างหากจับคู่กินพร้อมอาหารบางอย่าง สามารถกลายเป็นโทษต่อร่างกายได้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงนี้ เราจึงรวบรวมข้อมูลดี ๆ ของอาหารที่ไม่ควรทานคู่กัน มาแชร์ให้ทุกคน จะมีอะไรบ้างมาดูกันเลยค่ะ

อาหาร ผัก ผลไม้และสมุนไพรที่ห้ามกินคู่กัน
  1. แอลกอฮอล์ + ทุเรียน = ร้อนในรุนแรง

เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีผลทำให้ร่างกายร้อนขึ้น เมื่อเจอกับทุเรียนซึ่งมีชัลเฟอร์สูง ยิ่งทำให้เกิดความร้อนรุนแรงขึ้นในกระเพาะ เป็นเหตุให้เกิดอาการช็อกได้

วิธีแก้หากกินคู่กัน : ให้รีบดื่มน้ำเย็นจำนวนมาก ๆ ถ้าอาเจียนออกมาได้ก็จะทุเลาลง (หากอาการไม่ดีขึ้น ให้รีบนำส่งแพทย์)

  1. ของทอด + แตงโม = ท้องเสีย

ของทอดเป็นอาหารที่อมน้ำมันค่อนข้างมาก ส่วนแตงโมมีคุณสมบัติคือมีน้ำมาก ช่วยระบาย และทำให้ภายในตัวเย็น หากกินคู่กันจะทำให้ในกระเพาะมีทั้งน้ำมันและน้ำในปริมาณมาก รวมทั้งเส้นใยที่ช่วยระบาย ทำให้ท้องเสียได้ง่าย

  1. เนื้อหมู + ไอศกรีม = ย่อยและดูดซึมยาก

เนื้อหมูเป็นโปรตีนที่ย่อยได้ยาก ใช้เวลานาน เมื่อกินร่วมกับของเย็น ๆ เช่น ไอศกรีม จะทำให้กระเพาะเย็นและทำงานได้ด้อยลง การกินอาหารสองอย่างนี้พร้อมๆกัน จึงทำให้กระเพาะต้องทำงานหนักขึ้น สร้างภาระให้กับระบบย่อยอาหาร

  1. มะเขือเทศ + แตงกวา = วิตามินซีถูกทำลาย

เอนไชม์ asbinase ในแตงกวา จะไปทำลายวิตามินซีของมะเขือเทศ ทำให้ได้รับสารอาหารได้ไม่เต็มที่ อีกทั้งผักสองชนิดนี้ ยังมีคุณสมบัติทำให้ภายในร่างกายเย็นลง ช่วงที่สภาพอากาศหนาวเย็นจึงควรหลีกเลี่ยง เพราะอาจทำให้เป็นหวัดได้ง่ายขึ้น (ในสลัดผัก มักมีผักสองชนิดนี้)

  1. ไข่ต้ม + เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน = ร่างกายได้รับธาตุเหล็กน้อยลง

คาเฟอีนจะจับตัวกับสารซัลฟอร์ในไข่ต้ม ซึ่งขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล็ก หากต้องการกินร่วมกับไข่ ควรกินในรูปแบบไข่ดาวจะดีกว่า

  1. น้ำผึ้ง + น้ำร้อน = สูญเสียวิตามิน

ไม่ควรชงน้ำผึ้งด้วยน้ำร้อน เพราะความร้อนสามารถทำลายวิตามินที่มีในน้ำผึ่งได้ โดยอาจไม่ได้ทำลายจนหมด แต่หากชงด้วยวิธีอื่นก็จะได้รับสารอาหารอย่างเต็มที่ยิ่งขึ้น

 



แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

ปวดประจำเดือนรุนแรง เช็กตัวเองสักนิด อย่าคิดว่าแค่เรื่องธรรมดา

ปัญหากวนใจที่ผู้หญิงเกือบทุกคนต้องเจอนั่นก็คือ “ปวดท้องประจำเดือน” หรือปวดท้องเมนส์ หลายคนเข้าใจว่า การปวดประจำเดือนเป็นเรื่องปกติ

blank บทความโดย : คลินิกสุขภาพสตรี โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ปวดประจำเดือนรุนแรง เช็กตัวเองสักนิด อย่าคิดว่าแค่เรื่องธรรมดา

ปัญหากวนใจที่ผู้หญิงเกือบทุกคนต้องเจอนั่นก็คือ “ปวดท้องประจำเดือน” หรือปวดท้องเมนส์ หลายคนเข้าใจว่า การปวดประจำเดือนเป็นเรื่องปกติ

blank บทความโดย : คลินิกสุขภาพสตรี โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
อันตรายจากเสียงดัง ส่งผลร้ายถึงขั้นพิการ ไม่มีทางรักษาให้หายได้

ความดังของเสียงที่ดังและนานเกินไป จะเข้าไปทำให้อวัยวะรับเสียง โดยเฉพาะเซลล์ขนและประสาทรับเสียงเสื่อมสภาพเร็วขึ้น ทำให้เราไม่สามารถได้ยินเสียงทั่วไปในสภาวะระดับปกติ หรือที่เรียกกันว่า ‘หูตึง’ นั่นเอง

blank คลินิกโสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
อันตรายจากเสียงดัง ส่งผลร้ายถึงขั้นพิการ ไม่มีทางรักษาให้หายได้

ความดังของเสียงที่ดังและนานเกินไป จะเข้าไปทำให้อวัยวะรับเสียง โดยเฉพาะเซลล์ขนและประสาทรับเสียงเสื่อมสภาพเร็วขึ้น ทำให้เราไม่สามารถได้ยินเสียงทั่วไปในสภาวะระดับปกติ หรือที่เรียกกันว่า ‘หูตึง’ นั่นเอง

blank คลินิกโสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
การคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่

โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นโรคมะเร็งที่พบบ่อยในประเทศไทย โดยจะมีอุบัติการณ์มากขึ้นเมื่อมีอายุมากขึ้นตั้งแต่50ปีขึ้นไป นอกจากนั้นยังมีปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงเช่น การตรวจพบติ่งเนื้อลำไส้ใหญ่(colonic polyp), การมีญาติใกล้ชิดเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, โรคลำไส้อักเสบ(inflammatory bowel disease), การทานผักน้อยและทานเนื้อสัตว์จำนวนมาก เป็นต้น

การคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่

โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นโรคมะเร็งที่พบบ่อยในประเทศไทย โดยจะมีอุบัติการณ์มากขึ้นเมื่อมีอายุมากขึ้นตั้งแต่50ปีขึ้นไป นอกจากนั้นยังมีปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงเช่น การตรวจพบติ่งเนื้อลำไส้ใหญ่(colonic polyp), การมีญาติใกล้ชิดเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, โรคลำไส้อักเสบ(inflammatory bowel disease), การทานผักน้อยและทานเนื้อสัตว์จำนวนมาก เป็นต้น