Header

ต้อเนื้อ รักษาให้หายขาดได้

พญ.พรรักษ์ ศรีพล พญ.พรรักษ์ ศรีพล

ต้อเนื้อ รักษาให้หายขาดได้ | โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

การผ่าตัดแบบธรรมดา

คือ การผ่าตัดด้วยการเย็บแผล โดยหลังผ่าตัดจะรอการตัดไหมประมาณ 14 วัน ซึ่งอาจทำให้เกิดการระคายเคือง

 

การผ่าตัดแบบใช้ Fibrin Glue

คือ การผ่าตัดแบบโดยไม่ต้องเย็บแผล แต่จะใช้ Fibrin glue โดยใช้เวลาในการผ่าตัดรวดเร็วกว่าการผ่าตัดแบบธรรมดา การผ่าตัดแบบนี้จะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายตา ไม่ระคายเคือง และการฟื้นตัวก็จะรวดเร็วกว่า

ลอกต้อเนื้อ-โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ

ผ่าตัดโดยใช้กาวจะมีการระคายเคือง หรือมีอาการแพ้กาวหรือไม่

โอกาสแพ้ค่อนข้างน้อยมาก เนื่องจากเป็นการใช้สารที่มีอยู่ในร่างกายของคนอยู่แล้วนำมาสกัด และสังเคราะห์ โดยสารที่ชื่อว่า ไฟบริโนเจน กับ ทรอมบิน จะเป็นตัวเชื่อมให้เยื่อบุที่ปลูกถ่ายเกิดการติดแน่น

 

ข้อจำกัดในการใช้กาวกับคนไข้

ข้อจำกัดมีน้อยกว่าการเย็บแผล เนื่องจากถ้าเย็บแผลต้องกลับมาตัดไหม แต่ในกรณีที่เราปลูกถ่ายเนื้อเยื่อบุและใช้ Fibrin glue จะไม่มีการเย็บด้วยไหม เพียงแต่โดยหลักการ แพทย์จะนัดมาตรวจเพื่อปรับระดับยาหยอดหลังผ่าตัด อาจมีข้อจำกัดในผู้ป่วยที่ไม่สามารถให้ความร่วมมือในการผ่าตัด และการดูแลหลังผ่าตัดไม่ดีนัก เช่น การขยี้ตาอย่างแรง อาจทำให้เยื่อบุที่ปลูกถ่ายหลุดล่อนได้

 

ต้อเนื้อ คือ เยื่อบุตาที่หนาตัวขึ้นมาอาจจะเกิดจากต้อลมมาก่อน ซึ่งเนื้อเยื่อนี้จะมีเส้นเลือดและลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมงอกมาคุมกระจกตาดำจากแสง UV (Ultraviolet light)

 

3 ข้อบ่งบอกว่า คุณต้องผ่าตัดต้อเนื้อ

  1. ลุกลามบดบังการมองเห็น
  2. อักเสบ เป็นๆ หายๆ
  3. เสริมสร้างบุคลิกภาพ

 

ลอกต้อเนื้อมี 2 วิธี

  1. Blare sclera (ลอกอย่างเดียว) เหมาะกับผู้ที่มีต้อเนื้อแบบไม่อักเสบ ไม่แดง จางๆ และอายุมากกว่า 60 ปี
  2. Conjunctival graft (วางเนื้อเยื่อ กดทับ) เหมาะกับผู้ที่มีต้อเนื้อแดง อักเสบ หนา และอายุน้อยกว่า 60 ปี

สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาได้ที่ Call Center 02-080-5999 หรือ LINE : @psuv

ลอกต้อเนื้อ-โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ



แพทย์ประจำศูนย์

แผนกตา หู คอ จมูก

แผนกตา หู คอ จมูก

นพ.กฤษณะ พงศกรกุล

จอตาและวุ้นตา

แผนกตา หู คอ จมูก

นพ.ณัฐวัตร พงษ์ชมพร

โสต ศอ นาสิกวิทยา

แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

เบาหวานน่ากลัวอย่างไร

โดยปกติแล้ว ระดับน้ำตาลในเลือดของคนเราจะถูกควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติด้วยฮอร์โมนอินซูลินที่ตับอ่อนสร้างขึ้นมา โดยฮอร์โมนนี้จะทำหน้าที่นำน้ำตาลในเลือดไปยังเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย เพื่อใช้เป็นพลังงาน หากขาดฮอร์โมนอินซูลินไปหรืออินซูลินไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ตามปกติ เซลล์ในร่างกายก็จะไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น และเกิดเป็นโรคเบาหวานนั่นเอง

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
เบาหวานน่ากลัวอย่างไร

โดยปกติแล้ว ระดับน้ำตาลในเลือดของคนเราจะถูกควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติด้วยฮอร์โมนอินซูลินที่ตับอ่อนสร้างขึ้นมา โดยฮอร์โมนนี้จะทำหน้าที่นำน้ำตาลในเลือดไปยังเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย เพื่อใช้เป็นพลังงาน หากขาดฮอร์โมนอินซูลินไปหรืออินซูลินไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ตามปกติ เซลล์ในร่างกายก็จะไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น และเกิดเป็นโรคเบาหวานนั่นเอง

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ต้อหิน โรคร้ายขโมยการมองเห็น

ต้อหินเป็นโรคร้ายที่ฟังดูไกลตัว แต่จริง ๆ แล้วอันตรายมากเนื่องจากเป็นโรคที่มักไม่แสดงอาการ ทำให้เสี่ยงตาบอดได้ เราจึงขอชวนทุกคนมารู้จักกับโรคต้อหิน หากผู้อ่านหรือคนใกล้ตัวเป็น จะได้รักษาได้ทันท่วงที ไม่ต้องสูญเสียการมองเห็นไป

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ต้อหิน โรคร้ายขโมยการมองเห็น

ต้อหินเป็นโรคร้ายที่ฟังดูไกลตัว แต่จริง ๆ แล้วอันตรายมากเนื่องจากเป็นโรคที่มักไม่แสดงอาการ ทำให้เสี่ยงตาบอดได้ เราจึงขอชวนทุกคนมารู้จักกับโรคต้อหิน หากผู้อ่านหรือคนใกล้ตัวเป็น จะได้รักษาได้ทันท่วงที ไม่ต้องสูญเสียการมองเห็นไป

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ต้อกระจก ป้องกันได้

ต้อกระจก คือ ภาวะเลนส์ตาขุ่น ภาวะนี้จะทำให้มีอาการหลัก คือ มองเห็นภาพไม่ชัด ซึ่งลักษณะการมองเห็นภาพไม่ชัดนั้นมีหลายแบบ แต่ส่วนมากแล้วอาการจะค่อยเป็นค่อยไป หลักเดือนหรือหลักปี

พญ.พรรักษ์ ศรีพล พญ.พรรักษ์ ศรีพล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ต้อกระจก ป้องกันได้

ต้อกระจก คือ ภาวะเลนส์ตาขุ่น ภาวะนี้จะทำให้มีอาการหลัก คือ มองเห็นภาพไม่ชัด ซึ่งลักษณะการมองเห็นภาพไม่ชัดนั้นมีหลายแบบ แต่ส่วนมากแล้วอาการจะค่อยเป็นค่อยไป หลักเดือนหรือหลักปี

พญ.พรรักษ์ ศรีพล พญ.พรรักษ์ ศรีพล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม